วันนี้ (22 เม.ย.2565) สำนักข่าวต่างประเทศ รายงานว่า ย่านหรูใจกลางนครเซี่ยงไฮ้ของจีน อย่างเขตจิ้งอันท

พรรคเพื่อไทย รอถกพรรคร่วมรัฐบาล ปั้นโมเดลส.ส.ร.3 แจงไม่เสนอแก้มาตราใด เตรียมเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญ เพื่อไทยอ้าง ต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วมมากที่สุด พรรคเพื่อไทย รอถกพรรคร่วมรัฐบาล ปั้นโมเดลส.ส.ร.3 แจงไม่เส

หลายคนอาจได้ติดตามข่าว กรณีที่กระทรวงสาธารณสุขของประเทศบราซิลรายงาน เมื่อวันที่ 25 ก.ค.2567 ว่า พบผู้ป่วย "โรคไข้โอโรพุช" หรือ Oropouche Fever เสียชีวิต 2 คนแรกของโลกที่บราซิล ข้อมูล เมื่อวันที่ 23 ก.ค.2567 ที่ผ่านมา พบรายงานผู้ป่วยในบราซิลทั้งหมด 7,236 คน คิดเป็นอัตราป่วยเสียชีวิต ร้อยละ 0.03 ผู้เสียชีวิตทั้ง 2 คน เป็นเพศหญิง อายุน้อยกว่า 30 ปี ไม่มีโรคประจำตัว ในช่วงที่ป่วยมีอาการคล้ายไข้เลือดออก โดยผู้ป่วยอาศัยอยู่ที่รัฐบาเฮีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือของบราซิล นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร อธิบดีกรมควบคุมโรค ให้ข้อมูลว่า โรคไข้โอโรพุช พบมากในประเทศแถบลาตินอเมริกาและแคริบเบียน โดยในเดือน มิ.ย.2567 มีรายงานผู้ป่วยในประเทศโบลิเวีย เปรู คิวบา และโคลอมเบีย ส่วนในไทยยังไม่เคยพบรายงานผู้ป่วยจนถึงปัจจุบัน "โรคไข้โอโรพุช" เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง คือ Oropouche virus (OROV) ไวรัสชนิดนี้เป็นเชื้อประจำถิ่น ในพื้นที่ "ลุ่มแม่น้ำอเมซอน" และ "ไม่ใช่โรคติดต่ออุบัติใหม่" การพบผู้ป่วยมีรายงานในประเทศ แถบอเมริกาใต้ เช่น และ แถบแคริบเบียน เช่น เชื้อมีระยะฟักตัวโดยทั่วไป คือ 4-8 วัน อยู่ในช่วง 3-12 วัน โดยประมาณร้อยละ 16 มีอาการเลือดออก เช่น จุดเลือดออกที่ผิวหนัง เลือดกำเดา และเลือดออกตามไรฟัน) และมีรายงานเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningoencephalitis) แต่พบได้น้อย ส่วนอาการของโรค สามารถเช็กอาการได้ดังต่อไปนี้ อ่านข่าว : ครั้งแรกของโลก! เสียชีวิต 2 คน “ไข้โอโรพุช” ระบาดบราซิล นพ.อภิชาต วชิรพันธ์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ให้ข้อมูลว่า การติดต่อของโรค มีแมลงเป็นพาหะ โดยพาหะนำโรคหลัก คือ "ตัวริ้น" (Culicดู บอล ออนไลน์ trueoides paraensis) ซึ่งพบมากในทวีปอเมริกา นอกจากนี้ ยุงบางชนิดสามารถเป็นพาหะของไวรัส OROV ได้ เช่น Culex quinquefasciatus, Coquillettidia venezuelensis, Mansonia venezuelensis และ Aedes serratus ปัจจุบันยังไม่มีรายงานการพบตัวริ้นที่เป็นพาหะหลักในประเทศไทย รวมถึงยังไม่มีรายงานในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังไม่พบหลักฐานการแพร่ระบาดระหว่างคนสู่คน ความเสี่ยงหลักของการพบผู้ติดเชื้อในประเทศไทยอาจมาจากนักท่องเที่ยวที่เดินทางไปพื้นที่ที่มีการระบาด ซึ่งความเป็นไปได้ยังคงต่ำมาก อีกทั้งความรุนแรงของโรคค่อนข้างน้อย ผู้เชี่ยวชาญทางระบาดวิทยาให้ความเห็นว่า ความเสี่ยงการระบาดของโรคนี้ในประเทศไทยค่อนข้างต่ำ และหากเจ็บป่วยมีอาการคล้ายโรคไข้เลือดออก คือ ไข้สูงเฉียบพลัน ปวดศีรษะรุนแรง หนาวสั่น ปวดกล้ามเนื้อ และปวดข้อ ควรรีบไปพบแพทย์ สำหรับประชาชนที่เดินทางไปในประเทศไปที่มีรายงานการระบาดของโรคนี้โดยเฉพาะประเทศในทวีปอเมริกาใต้และแคริบเบียน มีคำแนะนำ ดังนี้ อ่านข่าว : ไอโอซี เรียกร้องเคารพสิทธินักชกแอลจีเรีย เยียวยา นทท.จีนต้นไม้ล้มทับสลิง Zipline ขาดตาย 1 คน ไม่หวั่น! "อนุทิน" โยนดีอีคุมเชื่อมระบบ “ทางรัฐ-ThaiiD"

หลายคนอาจได้ติดตามข่าว กรณีที่กระทรวงสาธารณสุขของประเทศบราซิลรายงาน เมื่อวันที่ 25 ก.ค.2567 ว่า พบผู้ป่วย "โรคไข้โอโรพุช" หรือ Oropouche Fever เสียชีวิต 2 คนแรกของโลกที่บราซิล ข้อมูล เมื่อวันที่ 23 ก.